Options
ผ้าหมักโคลน : จากภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่แบรนด์ระดับชาติและนานาชาติ : รายงานการวิจัย
Loading...
File(s)
Alternative Title(s)
รายงานการวิจัย ผ้าหมักโคลน : จากภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่แบรนด์ระดับชาติและนานาชาติ
Mud cloth : from local wisdom to the national and international brands
Author(s)
Publisher(s)
University of the Thai Chamber of Commerce
Date Issued
2021
Resource Type
Research report
Language
Thai
Abstract
การศึกษาเรื่อง ผ้าหมักโคลน: จากภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่แบรนด์ระดับชาติและนานาชาติ มีวัตถุประสงค์ 2 ประการคือ เพื่อศึกษาภูมิปัญญาในกระบวนการผลิตผ้าหมักโคลนตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันของชุมชนจังหวัดมุกดาหารและจังหวัดระยอง และเพื่อศึกษาพัฒนาการกระบวนการผลิตผ้าหมักโคลนของแต่ละชุมชนที่ได้นำภูมิปัญญาไปพัฒนาต่อยอดจนนำไปสู่สินค้าระดับชาติและนานาชาติ การศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยได้กำหนดขอบเขตการศึกษาผ้าหมักโคลนที่อำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร และ อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง โดยศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลที่ว่าด้วยเรื่องภูมิปัญญาเพื่อชี้ให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงในกระบวนการผลิตผ้าหมักโคลน ที่มีการนำภูมิปัญญามาพัฒนาต่อยอดจนไปสู่การเป็นสินค้าระดับชาติและนานาชาติ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ผ้าหมักโคลนหนองสูง อำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร
1.1. ด้านภูมิปัญญา ผ้าหมักโคลนหนองสูงเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์ด้านภูมิปัญญา 3 ด้าน คือ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาด้านการประกอบอาชีพ และภูมิปัญญาสร้างสรรค์ โดยเป็นการผสมผสานระหว่างภูมิปัญญาท้องถิ่นกับองค์ความรู้ใหม่ ทั้งนี้เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตให้ได้สินค้าที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน ผ้าหมักโคลนหนองสูงจึงมีอัตลักษณ์ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นที่โดดเด่น ได้รับการคัดเลือกให้เป็นสินค้าโอทอป และเป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของอำเภอหนองสูง ส่งผลให้ชุมชนมีอาชีพเสริมและสามารถพึ่งพาตนเองได้ นับว่าเป็นการสร้างความยั่งยืนทางเศรษฐกิจให้แก่ชุมชน
1.2. ด้านพัฒนากระบวนการผลิต ผ้าหมักโคลนหนองสูงมีกระบวนการพัฒนาด้านการผลิต 3 ด้าน คือ ด้านการผลิต ด้านผู้ผลิต และด้านการจำหน่าย ผู้ผลิตได้นำองค์ความรู้ใหม่มาพัฒนากระบวนการผลิตให้สอดคล้องกับบริบททางสังคมที่เปลี่ยนไป รวมทั้งได้นำเทคโนโลยีเข้ามาบริหารจัดการและเพิ่มช่องทางการจำหน่ายในรูปแบบออนไลน์ จึงทำให้เข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคได้มากขึ้น ส่งผลให้ชุมชนมีอาชีพเสริมและสามารถพึ่งพาตนเองได้ นับว่าเป็นการสร้างความยั่งยืนทางเศรษฐกิจให้แก่ชุมชน
2. ผ้าหมักโคลนทะเล อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
2.1 ด้านภูมิปัญญา ผ้าหมักโคลนทะเลเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์ด้านภูมิปัญญา 3 ด้าน คือ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาด้านการประกอบอาชีพ และภูมิปัญญาสร้างสรรค์ โดยนำภูมิปัญญาชาวบ้าน ที่มีอยู่ดั้งเดิมมาดัดแปลง เพื่อนำมาใช้กับทรัพยากรในท้องถิ่นทำให้เกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่ ส่งผลให้ผ้าหมักโคลนทะลมีความโดดเด่นด้านภูมิปัญญาสร้างสรรค์ที่นำทุนวัฒนธรรมมาพัฒนาต่อยอด ทำให้ได้รับคัดเลือกเป็นสินค้าโอทอป และเครื่องหมายผลิตภัณฑ์ 4DNA อำเภอบ้านฉาง
2.2 ด้านพัฒนากระบวนการผลิต ผ้าหมักโคลนทะเลมีกระบวนการพัฒนาด้านการผลิต 3 ด้าน คือ ด้านการผลิต ด้านผู้ผลิต และด้านการจำหน่าย ผ้าหมักโคลนทะเล แบรนด์ลีลาฝ้าย เป็นผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในภูมิภาคตะวันออก โดยนำภูมิปัญญาชาวบ้านมาพัฒนา ต่อยอดกระบวนการผลิตเพื่อให้ผ้าหมักโคลนทะเลมีอัตลักษณ์ที่โดดเด่นแตกต่างไปจากผ้าหมักโคลนในภูมิภาคอื่น จนมีโอกาสไปร่วมแสดงสินค้าหลายประเทศ และทำให้มียอดการสั่งซื้อต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดการจ้างงานในชุมชน สร้างอาชีพ รายได้ และความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจให้แก่ชุมชนเป็นอย่างมาก
1. ผ้าหมักโคลนหนองสูง อำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร
1.1. ด้านภูมิปัญญา ผ้าหมักโคลนหนองสูงเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์ด้านภูมิปัญญา 3 ด้าน คือ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาด้านการประกอบอาชีพ และภูมิปัญญาสร้างสรรค์ โดยเป็นการผสมผสานระหว่างภูมิปัญญาท้องถิ่นกับองค์ความรู้ใหม่ ทั้งนี้เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตให้ได้สินค้าที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน ผ้าหมักโคลนหนองสูงจึงมีอัตลักษณ์ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นที่โดดเด่น ได้รับการคัดเลือกให้เป็นสินค้าโอทอป และเป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของอำเภอหนองสูง ส่งผลให้ชุมชนมีอาชีพเสริมและสามารถพึ่งพาตนเองได้ นับว่าเป็นการสร้างความยั่งยืนทางเศรษฐกิจให้แก่ชุมชน
1.2. ด้านพัฒนากระบวนการผลิต ผ้าหมักโคลนหนองสูงมีกระบวนการพัฒนาด้านการผลิต 3 ด้าน คือ ด้านการผลิต ด้านผู้ผลิต และด้านการจำหน่าย ผู้ผลิตได้นำองค์ความรู้ใหม่มาพัฒนากระบวนการผลิตให้สอดคล้องกับบริบททางสังคมที่เปลี่ยนไป รวมทั้งได้นำเทคโนโลยีเข้ามาบริหารจัดการและเพิ่มช่องทางการจำหน่ายในรูปแบบออนไลน์ จึงทำให้เข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคได้มากขึ้น ส่งผลให้ชุมชนมีอาชีพเสริมและสามารถพึ่งพาตนเองได้ นับว่าเป็นการสร้างความยั่งยืนทางเศรษฐกิจให้แก่ชุมชน
2. ผ้าหมักโคลนทะเล อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง
2.1 ด้านภูมิปัญญา ผ้าหมักโคลนทะเลเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์ด้านภูมิปัญญา 3 ด้าน คือ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาด้านการประกอบอาชีพ และภูมิปัญญาสร้างสรรค์ โดยนำภูมิปัญญาชาวบ้าน ที่มีอยู่ดั้งเดิมมาดัดแปลง เพื่อนำมาใช้กับทรัพยากรในท้องถิ่นทำให้เกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่ ส่งผลให้ผ้าหมักโคลนทะลมีความโดดเด่นด้านภูมิปัญญาสร้างสรรค์ที่นำทุนวัฒนธรรมมาพัฒนาต่อยอด ทำให้ได้รับคัดเลือกเป็นสินค้าโอทอป และเครื่องหมายผลิตภัณฑ์ 4DNA อำเภอบ้านฉาง
2.2 ด้านพัฒนากระบวนการผลิต ผ้าหมักโคลนทะเลมีกระบวนการพัฒนาด้านการผลิต 3 ด้าน คือ ด้านการผลิต ด้านผู้ผลิต และด้านการจำหน่าย ผ้าหมักโคลนทะเล แบรนด์ลีลาฝ้าย เป็นผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในภูมิภาคตะวันออก โดยนำภูมิปัญญาชาวบ้านมาพัฒนา ต่อยอดกระบวนการผลิตเพื่อให้ผ้าหมักโคลนทะเลมีอัตลักษณ์ที่โดดเด่นแตกต่างไปจากผ้าหมักโคลนในภูมิภาคอื่น จนมีโอกาสไปร่วมแสดงสินค้าหลายประเทศ และทำให้มียอดการสั่งซื้อต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดการจ้างงานในชุมชน สร้างอาชีพ รายได้ และความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจให้แก่ชุมชนเป็นอย่างมาก
The study entitled Mud Cloth: from Local Wisdom to the National and International Brands has two objectives: to study the local wisdom in the mud cloth production process from past to present of communities in Mukdaharn and Rayong Provinces; and to study the development of the mud cloth production process of each community that develops and builds on the local wisdom until
it becomes the national and international brands. In this study, the researcher sets the scope of study of the mud cloth at Nong Soong District, Mukdaharn Province and Ban Shang District, Rayong Province by studying and analyzing data that concerns the local wisdom in order to point out to changes in the mud cloth production process that builds on the local wisdom until it becomes the national and international brands. The research results can be summarized as follows :
1. The Mud Cloth of Nong Soong District, Mukdaharn Province
1.1 The Aspect of Local Wisdom, the mud cloth of Nong Soong is the product that has three unique wisdoms, i.e., local wisdom, occupational wisdom, and creative wisdom. It is the combination of the local wisdom and the new body of knowledge in order to develop the production process to produce the quality product with standard. The mud cloth of Nong Soong therefore has the outstanding local wisdom identity and is selected to be an OTOP product and Geographical Indication (GI) of Nong Soong District, resulting in the community has an extra job and can be self-reliance. It is regarded the construction of economic sustainability to the community.
1.2 The Aspect of the Development of Production Process, the mud cloth of Nong Soong has three production development processes, i.e., production, producer, and sale. The producers use the new body of knowledge to develop the production process to conform to changing social context. They also use technologies to manage and increase sale channels in the form of online sale, so it reaches to more consumers, resulting the community to have an extra job and can be self-reliance. It is regarded the construction of economic sustainability to the community.
2. The Sea Mud Cloth, Ban Shang District, Rayong Province
2.1 The Aspect of Local Wisdom, the sea mud cloth is the product that has three unique wisdoms, i.e., local wisdom, occupational wisdom, and creative wisdom. The original villager’s local wisdom is applied to use with the local resources to create the new body of knowledge, resulting the sea mud cloth having the outstanding creative wisdom that builds on the cultural capital, and being selected as an OTOP product and the 4DNA product sign of Ban Shang District.
2.2 The Aspect of the Development of Production Process, the mud cloth of Nong Soong has three production development processes, i.e., production, producer, and sale. The sea mud cloth of Leela Faai Brand is the first and only in the eastern part. The production process is built on the villager’s local wisdom for the sea mud cloth to have the outstanding identity that is different from the mud cloth in other parts until it has opportunities to participate in trade fair in many countries, resulting in the continuous buying orders, employment in the community, creating occupation, income, and economic strength to the community to a great extent
it becomes the national and international brands. In this study, the researcher sets the scope of study of the mud cloth at Nong Soong District, Mukdaharn Province and Ban Shang District, Rayong Province by studying and analyzing data that concerns the local wisdom in order to point out to changes in the mud cloth production process that builds on the local wisdom until it becomes the national and international brands. The research results can be summarized as follows :
1. The Mud Cloth of Nong Soong District, Mukdaharn Province
1.1 The Aspect of Local Wisdom, the mud cloth of Nong Soong is the product that has three unique wisdoms, i.e., local wisdom, occupational wisdom, and creative wisdom. It is the combination of the local wisdom and the new body of knowledge in order to develop the production process to produce the quality product with standard. The mud cloth of Nong Soong therefore has the outstanding local wisdom identity and is selected to be an OTOP product and Geographical Indication (GI) of Nong Soong District, resulting in the community has an extra job and can be self-reliance. It is regarded the construction of economic sustainability to the community.
1.2 The Aspect of the Development of Production Process, the mud cloth of Nong Soong has three production development processes, i.e., production, producer, and sale. The producers use the new body of knowledge to develop the production process to conform to changing social context. They also use technologies to manage and increase sale channels in the form of online sale, so it reaches to more consumers, resulting the community to have an extra job and can be self-reliance. It is regarded the construction of economic sustainability to the community.
2. The Sea Mud Cloth, Ban Shang District, Rayong Province
2.1 The Aspect of Local Wisdom, the sea mud cloth is the product that has three unique wisdoms, i.e., local wisdom, occupational wisdom, and creative wisdom. The original villager’s local wisdom is applied to use with the local resources to create the new body of knowledge, resulting the sea mud cloth having the outstanding creative wisdom that builds on the cultural capital, and being selected as an OTOP product and the 4DNA product sign of Ban Shang District.
2.2 The Aspect of the Development of Production Process, the mud cloth of Nong Soong has three production development processes, i.e., production, producer, and sale. The sea mud cloth of Leela Faai Brand is the first and only in the eastern part. The production process is built on the villager’s local wisdom for the sea mud cloth to have the outstanding identity that is different from the mud cloth in other parts until it has opportunities to participate in trade fair in many countries, resulting in the continuous buying orders, employment in the community, creating occupation, income, and economic strength to the community to a great extent
Sponsorship
รายงานการวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ประจำปีการศึกษา 2563
Access Rights
Open access
Rights
This work is under copyright of University of the Thai Chamber of Commerce (UTCC). Reproduction or distribution of the work in any format is prohibited without written permission of the copyright owner.
Rights Holder
University of the Thai Chamber of Commerce
Physical Location
University of the Thai Chamber of Commerce. UTCC Central Library
Views
281
Last Week
11
11
Last Month
30
30
Acquisition Date
Sep 26, 2024
Sep 26, 2024
Downloads
589
Last Week
17
17
Last Month
51
51
Acquisition Date
Sep 26, 2024
Sep 26, 2024